แบบฝึกหัดบทที่.3
1.จงเรียงลำดับโครงสร้างข้อมูลจากขนาดเล็กไปใหญ่พร้อมอธิบาย ความหมายของโครงสร้างข้อมูล แต่ละแบบ
ตอบ 1. บิต (Bit) หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล เลขฐาน 2 คือ 0,1
2. ไบต์ (Byte) การนำบิตมารวมกัน เรียกว่า ตัวอักขระ,ตัวอักษร เป็นการนำบิตหลาย ๆ บิตมาเรียงต่อรวมกันเพื่อกำหนดค่าได้มากขึ้น เช่น 3 บิต มาต่อเรียงกันจะทำให้เกิดสถานะที่ต่างกันคือ 000,001,010,100,011,010, และ 111 ก็จะได้เป็น 8 สถานะ เมื่อนำบิตมาเรียงต่อรวมกันเป็น 8 บิต เรียกว่าไบต์ มี 256 สถานะ และกำหนดเป็นโครงสร้างข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุดที่ใช้งานได้ มีค่าตั้งแต่ 0 – 255 (00000000 – 11111111)
3. ฟิลด์(Field) การนำไบต์หลายๆไบต์มารวมกัน เรียกว่า เขตข้อมูล
4. เรคอร์ด(Record) การนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มารวมกัน เรียกว่าทะเบียน
5. ไฟล์(File) การเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ดมารวมกัน เรียกว่าแฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล(Database) การนำไฟล์หลาย ๆ ไฟล์มารวมกัน เรียกว่า ฐานข้อมูล
2. ไบต์ (Byte) การนำบิตมารวมกัน เรียกว่า ตัวอักขระ,ตัวอักษร เป็นการนำบิตหลาย ๆ บิตมาเรียงต่อรวมกันเพื่อกำหนดค่าได้มากขึ้น เช่น 3 บิต มาต่อเรียงกันจะทำให้เกิดสถานะที่ต่างกันคือ 000,001,010,100,011,010, และ 111 ก็จะได้เป็น 8 สถานะ เมื่อนำบิตมาเรียงต่อรวมกันเป็น 8 บิต เรียกว่าไบต์ มี 256 สถานะ และกำหนดเป็นโครงสร้างข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุดที่ใช้งานได้ มีค่าตั้งแต่ 0 – 255 (00000000 – 11111111)
3. ฟิลด์(Field) การนำไบต์หลายๆไบต์มารวมกัน เรียกว่า เขตข้อมูล
4. เรคอร์ด(Record) การนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มารวมกัน เรียกว่าทะเบียน
5. ไฟล์(File) การเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ดมารวมกัน เรียกว่าแฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล(Database) การนำไฟล์หลาย ๆ ไฟล์มารวมกัน เรียกว่า ฐานข้อมูล
2.จงอธิบายความแตกต่างระหว่างการประมวลผลข้อมูล
แบบแบชและแบบเรียลไทม์
ตอบ การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) รวบรวมข้อมูล
และแบ่งแยกข้อมูลออกเป็นกลุ่ม ๆ แล้วจึงส่งเครื่องคอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลครั้งเดียวจะไม่มีการโต้ตอบกันระหว่างผู้ใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเช่น ระบบลงทะเบียนของนักเรียน
1. นักเรียนทุกคนทำการกรอกแบบฟอร์มการลงทะเบียน
2. ฝ่ายทะเบียน ทำการรวบรวมการลงทะเบียน
3. ป้อนข้อมูลจากใบลงทะเบียนทั้งหมด เก็บไว้ในแผ่นดิสเก็ต
4. ทำการประมวลผลข้อมูลโดยใช้แผ่นดิสเก็ต
5. จัดทำรายงานต่าง ๆ เพื่อส่งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วิธีการประมวลผลแบบเวลาจริง ( Real Time Processing )
การประมวลผลที่เมื่อทำการส่งข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์ แล้วจะได้ผลลัพธ์ออก มาทันทีแสดงผลข้อมูลทันทีทันใด โดยแสดงผลทาง Output เช่น การใช้บริการบัตรเครดิตตามห้างร้านต่าง ๆ
ตัวอย่างเช่น ระบบลงทะเบียนของนักเรียน
1. นักเรียนทุกคนทำการกรอกแบบฟอร์มการลงทะเบียน
2. ฝ่ายทะเบียน ทำการรวบรวมการลงทะเบียน
3. ป้อนข้อมูลจากใบลงทะเบียนทั้งหมด เก็บไว้ในแผ่นดิสเก็ต
4. ทำการประมวลผลข้อมูลโดยใช้แผ่นดิสเก็ต
5. จัดทำรายงานต่าง ๆ เพื่อส่งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วิธีการประมวลผลแบบเวลาจริง ( Real Time Processing )
การประมวลผลที่เมื่อทำการส่งข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์ แล้วจะได้ผลลัพธ์ออก มาทันทีแสดงผลข้อมูลทันทีทันใด โดยแสดงผลทาง Output เช่น การใช้บริการบัตรเครดิตตามห้างร้านต่าง ๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น