แบบฝึกหัดบทที่
4
1.
สื่อกลางประเภทมีสาย มีข้อดีข้อเสียอย่างไรบ้าง จงเปรียบเทียบ
ตอบ ได้แก่ - สายทองแดงแบบไม่หุ้มฉนวน (Unshield Twisted Pair)
- สายทองแดงแบบหุ้มฉนวน (Shield Twisted Pair)
- สายโคแอคเชียล (Coaxial)
- ใยแก้วนำแสง (Optic Fiber)
สื่อกลางประเภทมีสาย
|
|
ข้อดี
|
ข้อเสีย
|
1.ป้องกันสัญญาณรบกวน
|
1.ไม่สามารถใช้รับ-ส่งสัญญาณได้เกิน
185 เมตร
|
2.มีความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล
10/100Mbps
|
2.มีความเร็วในการส่งข้อมูลต่ำ
|
3.มีฉนวนด้านนอกหนา
|
|
4.ใช้งานในการเชื่อมต่อระยะทางใกล้ๆ
|
2.หากนำระบบเครือข่าย มาใช้ในองค์กร นักศึกษาจะเลือกรูปแบบของระบบเครือข่าย(LAN Topdogy) แบบใด เพราะอะไร
ตอบ- เลือกแบบโทโปโลยีแบบบัส (BUS)เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกเชื่อมต่อกันโดย
ผ่ายสายสัญญาณแกนหลัก
ที่เรียกว่า BUS หรือ แบ็คโบน (Backbone) คือ สายรับ ส่ง สัญญาณข้อมูลหลัก ใช้เป็นทางเดินข้อมูลของทุกเครื่องภายในระบบเครือข่าย
และจะมีสายแยกย่อยออกไปในแต่ละจุด เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ
ซึ่งเรียกว่าโหนด (Node) ข้อมูลจากโหนดผู้ส่งจะถูกส่งเข้าสู่สายบัสในรูปของแพ็กเกจ
ซึ่งแต่ละแพ็กเกจจะประกอบไปด้วยข้อมูลของผู้ส่ง, ผู้รับ
และข้อมูลที่จะส่ง การสื่อสารภายในสายบัสจะเป็นแบบ 2 ทิศทางแยกไปยังปลายทั้ง
2 ด้านของ บัส โดยตรงปลายทั้ง 2 ด้านของบัส
จะมีเทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) ทำหน้าที่ลบล้างสัญญาณที่ส่งมาถึง
เพื่อป้องกันไม่ให้สัญญาณข้อมูลนั้นสะท้อนกลับ เข้ามายังบัสอีก เพื่อเป็นการป้องกันการชนกันของข้อมูลอื่น
ๆ ที่เดิทางอยู่บนบัสในขณะนั้นสัญญาณข้อมูลจากโหนดผู้ส่งเมื่อเข้าสู่บัส
ข้อมูลจะไหลผ่านไปยังปลายทั้ง 2 ด้านของบัส
แต่ละโหนดที่เชื่อมต่อเข้ากับบัส จะคอยตรวจดูว่า ตำแหน่งปลายทางที่มากับแพ็กเกจข้อมูลนั้นตรงกับตำแหน่งของตนหรือไม่
ถ้าตรง ก็จะรับข้อมูลนั้นเข้ามาสู่โหนด ตน แต่ถ้าไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้สัญญาณข้อมูลนั้นผ่านไป
จะเห็นว่าทุก ๆ โหนดภายในเครือข่ายแบบ BUS นั้นสามารถรับรู้สัญญาณข้อมูลได้
แต่จะมีเพียงโหนดปลายทางเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่จะรับข้อมูลนั้นไปได้
ข้อดี
-ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก
สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่า ใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย
ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก
ข้อเสีย
- อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย
เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพี เส้นเดียว ดังนั้นหากมี
สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย
- การตรวจหาโหนดเสีย
ทำได้ยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อความ
ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ค
ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้
-เหตุผลที่เลือก เพราะไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก
สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น